วันจันทร์ที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2553

ปฎิบัติการที่ 6 ปริมาณของแข็งรวม ปริมาณสารที่เผาไหม้ได้ ปริมาณเถ้า ค่าปริมาณคาร์บอน ค่าปริมาณไฮโดรเจน

ปฎิบัติการที่ 6

ทฤษฎี

ปริมาณของแข็งรวม ( Total Solid )

ปริมาณของแข็งรวม หมายถึง ปริมาณขยะที่แห้งสนิท

การคำนวณ

T = 100 - M

โดยที่

T = ปริมาณของแข็งรวม ( เปอร์เซ็นต์ )
M = ค่าความชื้น ( เปอร์เซ็นต์ )


ปริมาณสารที่เผาไหม้ได้(Volatile Solid)

ปริมาณสารที่เผาไหม้ได้ หมายถึง ส่วนของขยะที่เหลือจากการเผาไหม้เป็นส่วนที่สามารถติดไฟ หรือเผาไหม้ได้ในความร้อนสูง โดยแปลงสภาพเป็นก๊าซ และ ไอน้ำ


อุปกรณ์ในการวิเคราะห์

1.ตู้อบ ( Hot air oven )
2.เครื่องชั่งน้ำหนัก
3.ตู้ดูดความชื้น ( Desiccators )
4.เครื่องบดขยะ ( Grinder )
5.เตาเผา ( Furnace )
6.ถ้วยกระเบื้องทนความร้อน ( Porcelain crucible )

ขั้นตอนการวิเคราะห์

1.นำตัวอย่างขยะที่ผ่านการ Quartering และผ่านการบดขยะที่อบแห้งสนิทแล้วให้มีขนาด 1.0 ม.ม

2.อบขยะที่อุณหภูมิ 75 ° ประมาณ 2 ชม.

3.ปล่อยทิ้งให้เย็นใน desiccator

4.สุ่มตัวอย่างประมาณ 3 - 6 กรัม ใส่ในถ้วยกระเบื้องทนความร้อนที่ทราบน้ำหนักแล้ว ชั่งน้ำหนักรวมของขยะและถ้วยกระเบื้อง

5.นำไปเผาที่อุณหภูมิ 550° ประมาณ 1-2 ชั่วโมง หรือ จนน้ำหนักคงที่

6.ปล่อยทิ้งให้เย็นใน dessicator ประมาณ 1-2 ชั่วโมง

7.ชั่งน้ำหนักขยะพร้อมถ้วยกระเบื้อง

การคำนวณ

V = ( < w1 - w2 > / w1 )x100

ตารางบันทึกผลการทดอง




T = 100 - 68.88 = 31.12 %

สรุปผลการทดลอง

จากการทดลองพบว่า ค่าปริมาณของแข็งที่ได้จากการทดลองและคำนวณออกมาคือ 31.12% ซึ้งมาจากพวก
เศษไม้ที่ผ่านการบด

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น